----t — различия между версиями

Материал из ТОГБУ Компьютерный Центр
Перейти к: навигация, поиск
м (----t)
м (----t)
Строка 1: Строка 1:
บ้านเดี่ยว บ้านแฝด เป็นที่พักอาศัยสองสไตล์ที่มีทั้งความคล้าย และความแตกต่างกัน โดยความแตกต่างจะอยู่ที่โครงสร้างของบ้าน ซึ่งบ้านแฝดจะมีด้านหนึ่งที่ติดกับบ้านจัดสรรหลังอื่น ๆ ส่วนบ้านเดี่ยวจะตั้งอยู่ในพื้นที่ของตัวเองโดยไม่มีด้านไหนติดกับผู้อื่นเลย<br /><br />อย่างไรก็ตาม ทั้ง บ้านเดี่ยว บ้านแฝด มีความคล้ายกันในส่วนของพื้นที่ใช้สอย และรูปแบบของบ้าน โดยจะให้ความเป็นส่วนตัวมากกว่าบ้านแบบอื่น และมีพื้นที่จำนวนมากทั้งภายนอกบ้าน และภายในตัวบ้าน ดังนั้นบ้านทั้งสองแบบจึงสามารถตกแต่งได้เหมือนกัน แม้ว่าจะมีความแตกต่างทางโครงสร้าง<br /><br />ดังนั้น วันนี้จึงเป็นโอกาสดีที่ ไลฟ แอนด์ ลีฟวิ่ง จะพาทุกท่านมาดูวิธีการตกแต่งบ้านเดี่ยว และบ้านแฝดให้มีสไตล์ที่โดดเด่นน่าอยู่อาศัย ด้วยความแตกต่างอย่างลงตัว หากพร้อมแล้ว เราไปดูกันได้เลย<br /><br />5 ไอเดียตกแต่ง บ้านเดี่ยว บ้านแฝด เพิ่มความน่าอยู่เหมาะกับสไตล์บ้าน<br /><br />บ้านเดี่ยว บ้านแฝด เป็นบ้านที่มีลักษณะโดดเด่นเรื่องพื้นที่รอบบ้าน โดยสามารถตกแต่งได้ตามความต้องการ เพื่อเสริมสร้างบรรยากาศของบ้านให้มีความน่าอยู่ และเหมาะกับการพักผ่อน อีกทั้งการจัดพื้นที่ภายนอกบ้าน ยังทำให้ผู้อยู่อาศัยได้มีพื้นที่ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ โดยพื้นที่ภายนอก บ้านเดี่ยว และบ้านแฝดสามารถตกแต่งใช้ประโยชน์ได้หลายรูปแบบ ดังนี้<br /><br />จัดสวนทันสมัย ตามสไตล์ที่ชอบ<br /><br /> [https://files.fm/f/jjyq5bv4hb https://files.fm/f/jjyq5bv4hb] <br /><br />หากบ้านไหนที่มีพื้นที่รอบบ้าน ก็คงจะนึกถึงการจัดสวนเป็นอย่างแรก เพราะการจัดสวนทำให้ได้ใกล้ชิดกับธรรมชาติ และช่วยเพิ่มพื้นที่สีเขียวรอบบ้านให้เหมาะแก่การพักผ่อน อีกทั้งสไตล์สวนในปัจจุบันมีรูปแบบให้เลือกมากขึ้น ทำให้ผู้อยู่อาศัยเลือกได้ว่าอยากจะให้สภาพแวดล้อมรอบบ้านเป็นแบบไหน<br /><br />รวมถึงการจัดสวนยังเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เพราะได้ทักษะเพิ่มขึ้น และเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างสรรค์ศิลปะ เนื่องจากต้องคำนึงถึงองค์ประกอบ และการจัดวาง ดังนั้น การจัดสวนที่พื้นที่รอบบ้านเดี่ยว และบ้านแฝด จึงเป็นกิจกรรมที่ดี และช่วยทำให้บ้านน่าอยู่มากขึ้นนั่นเอง<br /><br />ปลูกผักสวนครัว ได้ประโยชน์คุ้มค่า<br /><br />สิ่งที่หลาย ๆ คนอาจจะคิดไม่ถึง คือ พื้นที่รอบนอกของ บ้านเดี่ยว บ้านแฝด สามารถทำการปลูกผักสวนครัวได้ โดยบริเวณรอบบ้านจัดสรรเหล่านี้เป็นพื้นดินที่สามารถทำการปลูกผักต่าง ๆได้ เรียกว่าเป็นการจัดสวนอีกรูปแบบหนึ่ง แต่เป็นการจัดสวนครัว โดยหากจัดการพื้นที่ให้ดีก็จะได้ความสวยงามไปด้วย<br /><br />และประโยชน์หลักของการจัดสวนครัวก็ คือ การนำพืชผักต่าง ๆ มาใช้ประกอบอาหาร โดยผักสวนครัวที่ปลูกง่าย และประกอบอาหารได้หลากหลาย ยกตัวอย่าง เช่น พริก โหระพา ถั่วฝักยาว คะน้า ผักชี เป็นต้น ซึ่งผักเหล่านี้สามารถทนต่อสภาพอากาศได้ จึงเป็นผลดีในระยะยาว ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย และได้สารอาหารที่มีประโยชน์จากผักสวนครัวที่ปลูกเองในบริเวณบ้าน<br /><br />สนามหญ้า และสนามเด็กเล่น<br /><br />บ้านเดี่ยว บ้านแฝด เหมาะแก่การอยู่อาศัยเป็นครอบครัว เพราะมีความเป็นส่วนตัว และพื้นที่ใช้สอยต่าง ๆ สามารถปรับแต่งเป็นพื้นที่ทำกิจกรรมในครอบครัว โดยเฉพาะพื้นที่นอกบ้าน ซึ่งสามารถทำเป็นสนามหญ้า หรือสนามเด็กเล่นเล็ก ๆได้<br /><br />สำหรับบ้านที่มีเด็ก ๆ การได้ออกมาวิ่งเล่นนอกบ้าน รับแสงแดด และลมจากธรรมชาติ จะช่วยเพิ่มพัฒนาการสำหรับเด็ก อีกทั้งการใช้เวลาอยู่ภายนอกบ้าน จะทำให้รู้สึกเป็นอิสระ ผ่อนคลาย และไม่อุดอู้ ดังนั้นการปรับแต่งพื้นที่บ้านเดี่ยว หรือบ้านแฝด ถือเป็นพื้นที่สำหรับเด็กที่มีประโยชน์อย่างมากในการสร้างครอบครัว<br /><br />สระว่ายน้ำและอ่างปลา พื้นที่เพิ่มความชุ่มชื่น<br /><br />พื้นที่รอบบ้านเดี่ยว และบ้านแฝด สามารถปรับพื้นที่เพื่อทำสระว่ายน้ำได้ โดยสระว่ายน้ำสามารถออกแบบให้เข้ากับขนาดพื้นที่ และสไตล์บ้านได้ หากเป็นบ้านแฝดที่มีพื้นที่ว่างด้านเดียวนั้น สามารถออกแบบสระว่ายน้ำเป็นรูปแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้าตามแนวยาวของบ้าน ก็จะทำให้พื้นที่ดูไม่คับแคบ และยังได้สระว่ายน้ำที่ช่วยเพิ่มความน่าอยู่ของบ้านได้อีกด้วย<br /><br />สำหรับบ้านเดี่ยว ก็สามารถทำสระว่ายน้ำที่มีขนาดใหญ่ขึ้นมาอีกเล็กน้อยได้ เพราะมีพื้นที่รอบบ้านปริมาณมากกว่าบ้านแฝด หรืออาจจะสร้างเป็นอ่างเลี้ยงปลาสวยงาม ที่ช่วยให้บ้านดูร่มรื่น มีความเย็นสบายก็สามารถทำได้ที่บ้านเดี่ยว และบ้านแฝดที่มีพื้นที่เพียงพอ<br /><br />พื้นที่นั่งเล่น ปาร์ตี้ จิบกาแฟ<br /><br />และไอเดียสุดท้ายนี้ คือการปรับแต่งพื้นที่ภายนอก บ้านเดี่ยว และบ้านแฝด ให้เหมาะสมสำหรับการพักผ่อน ด้วยการต่อเติมภายนอกบ้านให้มีพื้นที่นั่งเล่น หากจะพูดให้เห็นภาพง่าย ๆ คือ การจัดตกแต่งบริเวณรอบบ้านให้เหมือนกับการจัดสวนสไตล์คาเฟ่ ที่จะมีโต๊ะ และเก้าอี้ให้สำหรับนั่งจิบกาแฟ หรือจะต่อเติมเป็นการเทพื้น และจัดวางโซฟา พร้อมกับมุงหลังคาโปร่งแสง เพื่อรับแสงจากธรรมชาติ และใช้สำหรับการปาร์ตี้ได้อีกด้วย<br /><br />ซึ่งการทำมุมพักผ่อนแบบนี้ไว้นอกบ้าน จะช่วยให้เราได้ใช้เวลาใกล้ชิดกับธรรมชาติ อีกทั้งยังช่วยประหยัดพลังงาน เพราะอยู่นอกบ้านไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องปรับอากาศ หรือพัดลม อีกทั้งมีแสงสว่างเพียงพอโดยไม่ต้องเปิดไฟ ดังนั้นไอเดียการตกแต่งบริเวณรอบบ้านเป็นพื้นที่นั่งเล่น จึงเป็นตัวเลือกที่ดีสำหรับการพักผ่อนในที่อยู่อาศัย<br /><br /> [https://www.file-upload.com/7ztujf8kpnf8 บ้านพัทยา] <br /><br />ดังนั้น ทั้งหมดนี้จึงเป็นไอเดียสำหรับการจัดตกแต่งพื้นที่ว่างรอบ บ้านเดี่ยว บ้านแฝด โดยบ้านจัดสรรทั้งสองสไตล์สามารถจัดตกแต่งได้อย่างอิสระ เพราะมีพื้นที่เพียงพอ แม้ว่าโครงสร้างของบ้านจะแตกต่างกัน แต่หลักการจัดตกแต่งสามารถใช้แบบเดียวกันได้ เพราะมีความคล้ายคลึงกันในด้านอื่น ๆ<br /><br />ทั้งนี้ในการตกแต่งบริเวณรอบบ้าน ต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะบ้านแฝดที่มีพื้นที่หนึ่งด้านติดกับผู้อื่น ที่ไม่ว่าจะทำการต่อเติมใด ๆ ต้องมีการคำนึงถึงผลกระทบเหล่านี้ด้วย จึงจะสามารถอยู่อาศัยได้อย่างสงบสุข<br /><br />อย่างไรก็ตาม สำหรับผู้ที่กำลังมองหาโครงการ บ้านเดี่ยว บ้านแฝด ที่มีคุณภาพ และมีพื้นที่ใช้สอยอย่างเหมาะสม สามารถเข้าเยี่ยมชมโครงการจาก ไลฟ แอนด์ ลีฟวิ่ง และสามารถติดต่อขอข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ เบอร์โทร. 1610 หรือ Line: @lifeandlivingth<br /><br />
+
ภาวะไขมันในเลือดสูง เป็นภัยเงียบอันตรายที่ก่อให้เกิดโรคร้ายแรงต่าง ๆ ทำให้หลายคนเริ่มหันกลับมาดูแลสุขภาพ ไม่ว่าจะเป็น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต การเลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ และการออกกำลังกาย รวมไปถึงการนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ เพื่อให้สุขภาพแข็งแรง และห่างไกลจากโรคต่าง ๆ ซึ่งบทความในวันนี้ Hillkoff จะมาพูดถึงภาวะ ไขมันในเลือดสูง มีอาการอย่างไร และมีวิธีการป้องกันอย่างไรบ้าง บทความนี้มีคำตอบ<br /><br />ศึกษาเพื่อป้องกัน ! ไขมันในเลือดสูง สังเกตอาการได้อย่างไรบ้าง ?<br /><br />โดยปกติแล้วผู้ป่วยภาวะไขมันในเลือดสูง จะไม่แสดงอาการ แต่สามารถไปตรวจได้ด้วยการเจาะเลือด เพื่อตรวจระดับไขมันในเลือด ดังนี้<br /><br />คอเลสเตอรอล (Cholesterol)<br /><br />ระดับปกติของคอเลสเตอรอลในเลือด ไม่ควรเกิน 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ซึ่งประกอบไปด้วย<br /><br />คอเลสเตอรอลชนิดดี (HDL) ระดับปกติในเลือดผู้ชายมากกว่า 40 มิลลิกรัม/เดซิลิตร หรือผู้หญิงมากกว่า 50 มิลลิกรัม/เดซิลิตร<br /><br />คอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี (LDL) ระดับปกติในเลือดไม่ควรเกิน 130 มิลลิกรัม/เดซิลิตร<br /><br />ไตรกรีเซอไรด์ (Triglyceride)<br /><br />ระดับปกติในเลือดไม่ควรเกิน 150 มิลลิกรัม/เดซิลิตร (ค่าปกติ 50-150 มิลลิกรัม/เดซิลิตร)<br /><br />ภาวะไขมันในเลือด นอกจากจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพแล้วยังเป็นสาเหตุของการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือด ซึ่งมีความร้ายแรงถึงพิการ หรืออาจเสียชีวิตได้ เพราะฉะนั้นคุณควรหมั่นตรวจสุขภาพประจำปีอย่างสม่ำเสมอ เพื่อหลีกเลี่ยงภาวะ ไขมันในเลือดสูง<br /><br />ด้วยความที่เลือดในร่างกายของคนเรามีหน้าที่ลำเลียงสารอาหารต่าง ๆ รวมไปถึง “ไขมัน” ซึ่งไขมันก็มีหลากหลายชนิดที่ทำหน้าที่แตกต่างกันออกไป แต่สำหรับภาวะไขมันในเลือดสูง (Hyperlipidemia) เป็นภาวะด้านสุขภาพ ที่ร่างกายมีไขมันชนิดไม่ดีอยู่ในระบบไหลเวียนเลือดมากเกินไป จนส่งผลให้เกิดโรคร้ายแรงตามมาได้<br /><br />รู้ให้ทัน ! ไขมันในเลือดสูง เกิดจากไขมันอะไรบ้าง ?<br /><br />ไขมันในเลือดหลัก ๆ มีอยู่ทั้งหมด 3 ชนิด โดยมาจากส่วนที่ร่างกายผลิตได้เองจากตับ และส่วนที่ร่างกายได้รับจากอาหารที่ทาน ซึ่งไขมันจะถูกลำเลียงผ่านเลือด และเกาะไปกับโปรตีนที่ชื่อว่า “ไลโปโปรตีน” และหากทำการตรวจสุขภาพ จะมีการจำแนกประเภทไขมันในเลือด ดังนี้<br /><br />ไขมันเลว (Low-Density Lipoprotein)<br /><br /> [https://www.4shared.com/office/qUgoBH7kfa/___tjtnu.html Hillkoff] <br /><br />ไขมันเลว หรือไลโปโปรตีนความหนาแน่นต่ำ (LDL) เป็นคอเลสเตอรอลประเภทหนึ่ง ซึ่งคนที่มีไขมัน LDL สูง การลำเลียงไขมันผ่านเส้นเลือดอาจทำให้ไขมันเกิดการเกาะตัวที่ผนังเส้นเลือดแดง และอาจเป็นสาเหตุของอาการหลอดเลือดแดงตีบ หรือหลอดเลือดแดงอุดตัน<br /><br />ไขมันดี (High-Density Lipoprotein)<br /><br />ไขมันดี หรือไลโปโปรตีนความหนาแน่นมาก (HDL) คอเลสเตอรอลประเภทนี้เป็นไขมันดี ที่คอยช่วยดักจับไขมันส่วนเกินในเส้นเลือดแดง และส่งไปยังตับ ซึ่งหากมีปริมาณของไขมันดีในร่างกายสูง หรืออยู่ในระดับที่เหมาะสม จะยิ่งส่งผลดีต่อร่างกาย เพราะอาจช่วยลดไขมันส่วนเกินได้<br /><br />ไตรกรีเซอไรด์ (Triglycerides)<br /><br />ไตรกรีเซอไรด์ เป็นไขมันในเลือดชนิดหนึ่งที่คล้ายกับคอเลสเตอรอล ซึ่งเมื่อร่างกายมีปริมาณไตรกรีเซอไรด์มากเกินไป จะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดก้อนไขมันเกาะผนังในหลอดเลือดแดงมากขึ้น<br /><br />อย่างไรก็ตาม การที่จะมีสุขภาพดีระดับไขมันทั้ง 3 ตัวนี้ต้องอยู่ในระดับที่เหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ ได้ โดยเกณฑ์ค่าคอเลสเตอรอลไม่ควรเกิน 200 mg/dl หรือหากตรวจพบว่ามีโอกาสเสี่ยงเป็นภาวะไขมันในเลือด ควรปรึกษาแพทย์ และตรวจสุขภาพเพิ่มเติม เพื่อที่จะได้ขอคำแนะนำจากแพทย์ได้อย่างตรงจุด เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคร้ายในอนาคต<br /><br />สังเกตให้ดี ! ภาวะ ไขมันในเลือดสูง มีอาการเริ่มต้นเป็นอย่างไร ?<br /><br />ในระยะแรก ๆ อาจตรวจพบได้ยาก เพราะภาวะไขมันในเลือดจะไม่ค่อยแสดงอาการ แต่เมื่อไหร่ที่ร่างกายมีคอเลสเตอรอล และไตรกลีเซอไรด์มากเกินไป อาจเกิดการสะสมของไขมันในหลอดเลือดแดง ซึ่งหากมีภาวะ ไขมันในเลือดสูง ห้ามกินอะไรบ้าง เช่น<br /><br />การทานอาหารที่มีคอเลสเตอรอล ไขมันอิ่มตัว ไขมันทรานส์ หรือคาร์โบไฮเดรตสูงเกินไป เช่น ของทอด หรืออาหารที่ผ่านกระบวนการแปรรูป เป็นต้น<br /><br />ขาดการออกกำลังกาย หรือเคลื่อนไหวร่างกายน้อย<br /><br />การสูบบุหรี่ และการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์<br /><br />ความผิดปกติทางพันธุกรรม ทำให้ร่างกายเผาผลาญไขมันลดลง<br /><br />การใช้ยาบางชนิด อาทิ ยาขับปัสสาวะ ยาคุมกำเนิด และอื่น ๆ<br /><br />นอกจากนี้ ยังก่อให้เกิดภาวะ ไขมันในเลือด และมีอาการอื่น ๆ เช่น ความดันโลหิตสูงขึ้น มีอาการเวียนศีรษะ หน้ามืด รู้สึกเหมือนจะวูบเวลาลุก-นั่งเร็ว ๆ หรือเริ่มปวดศีรษะอยู่เป็นประจำ รวมไปถึงอาการใจสั่น หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ<br /><br />วิธีการป้องกัน และการดูแลตัวเอง เมื่อเสี่ยงเป็นภาวะไขมันในเลือดสูง<br /><br />การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้ชีวิต และพฤติกรรมการกินอาหารที่เหมาะสม จะช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลได้ และหากปฏิบัติตามข้อแนะนำดังกล่าว จะช่วยลดโอกาสในการเป็นโรคไขมันในเลือดสูงได้ เช่น<br /><br />การควบคุมอาหาร<br /><br />การรับประทานอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ ถือเป็นเรื่องสำคัญในการป้องกัน และการรักษาภาวะไขมันในเลือดสูง โดยควรหลีกเลี่ยงอาหารจำพวกเนื้อสัตว์ติดมัน เครื่องในสัตว์ ไข่แดง อาหารทะเล ผลิตภัณฑ์จากนม ของหวานที่มีส่วนประกอบของน้ำตาล กะทิ ของทอด รวมไปถึงควรหลีกเลี่ยงน้ำมันประเภทที่มีกรดไขมันสูง อย่าง น้ำมันมะพร้าว และไขมันที่ได้จากสัตว์<br /><br />การออกกำลังกาย<br /><br />ผู้ที่มีภาวะไขมันในเลือดสูงควรหันมาออกกำลังกาย โดยอาจเริ่มจากการเดิน การขยับตัวบ่อย ๆ ไม่จำเป็นว่าจะต้องออกกำลังกายหนัก ๆ แต่ให้ออกกำลังกายวันละนิดอย่างสม่ำเสมอ จะช่วยให้ร่างกายแข็งแรง ช่วยลดระดับไขมันเลว (LDL), คอเลสเตอรอล, และช่วยเพิ่มระดับไขมันดี (HDL)<br /><br />การใช้ยาเพื่อลดระดับไขมัน<br /><br />หากในกรณีที่การควบคุมอาหาร และการออกกำลังกาย ไม่สามารถลดระดับไขมันในเลือดได้ จำเป็นจะต้องใช้ยาลดระดับไขมันในเลือดร่วมด้วย แต่ทั้งนี้ควรปรึกษา และรับประทานตามที่แพทย์สั่ง<br /><br />ทาน Coffogenic Drink ช่วยควบคุมระดับไขมัน<br /><br /> [https://www.file-upload.com/ybcao4im3z7n Hillkoff] <br /><br />Coffogenic Drink เป็นเครื่องดื่มสกัดจากเนื้อผลกาแฟเชอร์รี่ ที่มีสาร Chlorogenic Acid ช่วยควบคุมการทำงานของเอนไซม์ที่ย่อยไขมัน ทำให้ระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือดลดลง ช่วยลดความเสี่ยงของการสะสมไขมันในร่างกาย และไขมันในตับได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ ยังช่วยควบคุมภาวะดื้ออินซูลิน ช่วยขยายขนาดของไมเซลคอเลสเตอรอล ทำให้ร่างกายดูดซึมได้น้อยลง ช่วยควบคุมระดับน้ำตาล และไขมันได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br /><br />อย่างไรก็ตาม นี่เป็นเพียงคำแนะนำเบื้องต้น โดยคุณควรให้ไปพบแพทย์เพื่อเข้ารับการรักษาที่ถูกต้อง และเหมาะสมจึงจะดีที่สุด และหากสนใจผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม Coffogenic Drink จาก Hillkoff สามารถปรึกษา หรือสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ Line: @coffogenic<br /><br />

Версия 12:45, 28 марта 2024

ภาวะไขมันในเลือดสูง เป็นภัยเงียบอันตรายที่ก่อให้เกิดโรคร้ายแรงต่าง ๆ ทำให้หลายคนเริ่มหันกลับมาดูแลสุขภาพ ไม่ว่าจะเป็น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต การเลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ และการออกกำลังกาย รวมไปถึงการนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ เพื่อให้สุขภาพแข็งแรง และห่างไกลจากโรคต่าง ๆ ซึ่งบทความในวันนี้ Hillkoff จะมาพูดถึงภาวะ ไขมันในเลือดสูง มีอาการอย่างไร และมีวิธีการป้องกันอย่างไรบ้าง บทความนี้มีคำตอบ

ศึกษาเพื่อป้องกัน ! ไขมันในเลือดสูง สังเกตอาการได้อย่างไรบ้าง ?

โดยปกติแล้วผู้ป่วยภาวะไขมันในเลือดสูง จะไม่แสดงอาการ แต่สามารถไปตรวจได้ด้วยการเจาะเลือด เพื่อตรวจระดับไขมันในเลือด ดังนี้

คอเลสเตอรอล (Cholesterol)

ระดับปกติของคอเลสเตอรอลในเลือด ไม่ควรเกิน 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ซึ่งประกอบไปด้วย

คอเลสเตอรอลชนิดดี (HDL) ระดับปกติในเลือดผู้ชายมากกว่า 40 มิลลิกรัม/เดซิลิตร หรือผู้หญิงมากกว่า 50 มิลลิกรัม/เดซิลิตร

คอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี (LDL) ระดับปกติในเลือดไม่ควรเกิน 130 มิลลิกรัม/เดซิลิตร

ไตรกรีเซอไรด์ (Triglyceride)

ระดับปกติในเลือดไม่ควรเกิน 150 มิลลิกรัม/เดซิลิตร (ค่าปกติ 50-150 มิลลิกรัม/เดซิลิตร)

ภาวะไขมันในเลือด นอกจากจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพแล้วยังเป็นสาเหตุของการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือด ซึ่งมีความร้ายแรงถึงพิการ หรืออาจเสียชีวิตได้ เพราะฉะนั้นคุณควรหมั่นตรวจสุขภาพประจำปีอย่างสม่ำเสมอ เพื่อหลีกเลี่ยงภาวะ ไขมันในเลือดสูง

ด้วยความที่เลือดในร่างกายของคนเรามีหน้าที่ลำเลียงสารอาหารต่าง ๆ รวมไปถึง “ไขมัน” ซึ่งไขมันก็มีหลากหลายชนิดที่ทำหน้าที่แตกต่างกันออกไป แต่สำหรับภาวะไขมันในเลือดสูง (Hyperlipidemia) เป็นภาวะด้านสุขภาพ ที่ร่างกายมีไขมันชนิดไม่ดีอยู่ในระบบไหลเวียนเลือดมากเกินไป จนส่งผลให้เกิดโรคร้ายแรงตามมาได้

รู้ให้ทัน ! ไขมันในเลือดสูง เกิดจากไขมันอะไรบ้าง ?

ไขมันในเลือดหลัก ๆ มีอยู่ทั้งหมด 3 ชนิด โดยมาจากส่วนที่ร่างกายผลิตได้เองจากตับ และส่วนที่ร่างกายได้รับจากอาหารที่ทาน ซึ่งไขมันจะถูกลำเลียงผ่านเลือด และเกาะไปกับโปรตีนที่ชื่อว่า “ไลโปโปรตีน” และหากทำการตรวจสุขภาพ จะมีการจำแนกประเภทไขมันในเลือด ดังนี้

ไขมันเลว (Low-Density Lipoprotein)

Hillkoff

ไขมันเลว หรือไลโปโปรตีนความหนาแน่นต่ำ (LDL) เป็นคอเลสเตอรอลประเภทหนึ่ง ซึ่งคนที่มีไขมัน LDL สูง การลำเลียงไขมันผ่านเส้นเลือดอาจทำให้ไขมันเกิดการเกาะตัวที่ผนังเส้นเลือดแดง และอาจเป็นสาเหตุของอาการหลอดเลือดแดงตีบ หรือหลอดเลือดแดงอุดตัน

ไขมันดี (High-Density Lipoprotein)

ไขมันดี หรือไลโปโปรตีนความหนาแน่นมาก (HDL) คอเลสเตอรอลประเภทนี้เป็นไขมันดี ที่คอยช่วยดักจับไขมันส่วนเกินในเส้นเลือดแดง และส่งไปยังตับ ซึ่งหากมีปริมาณของไขมันดีในร่างกายสูง หรืออยู่ในระดับที่เหมาะสม จะยิ่งส่งผลดีต่อร่างกาย เพราะอาจช่วยลดไขมันส่วนเกินได้

ไตรกรีเซอไรด์ (Triglycerides)

ไตรกรีเซอไรด์ เป็นไขมันในเลือดชนิดหนึ่งที่คล้ายกับคอเลสเตอรอล ซึ่งเมื่อร่างกายมีปริมาณไตรกรีเซอไรด์มากเกินไป จะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดก้อนไขมันเกาะผนังในหลอดเลือดแดงมากขึ้น

อย่างไรก็ตาม การที่จะมีสุขภาพดีระดับไขมันทั้ง 3 ตัวนี้ต้องอยู่ในระดับที่เหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ ได้ โดยเกณฑ์ค่าคอเลสเตอรอลไม่ควรเกิน 200 mg/dl หรือหากตรวจพบว่ามีโอกาสเสี่ยงเป็นภาวะไขมันในเลือด ควรปรึกษาแพทย์ และตรวจสุขภาพเพิ่มเติม เพื่อที่จะได้ขอคำแนะนำจากแพทย์ได้อย่างตรงจุด เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคร้ายในอนาคต

สังเกตให้ดี ! ภาวะ ไขมันในเลือดสูง มีอาการเริ่มต้นเป็นอย่างไร ?

ในระยะแรก ๆ อาจตรวจพบได้ยาก เพราะภาวะไขมันในเลือดจะไม่ค่อยแสดงอาการ แต่เมื่อไหร่ที่ร่างกายมีคอเลสเตอรอล และไตรกลีเซอไรด์มากเกินไป อาจเกิดการสะสมของไขมันในหลอดเลือดแดง ซึ่งหากมีภาวะ ไขมันในเลือดสูง ห้ามกินอะไรบ้าง เช่น

การทานอาหารที่มีคอเลสเตอรอล ไขมันอิ่มตัว ไขมันทรานส์ หรือคาร์โบไฮเดรตสูงเกินไป เช่น ของทอด หรืออาหารที่ผ่านกระบวนการแปรรูป เป็นต้น

ขาดการออกกำลังกาย หรือเคลื่อนไหวร่างกายน้อย

การสูบบุหรี่ และการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

ความผิดปกติทางพันธุกรรม ทำให้ร่างกายเผาผลาญไขมันลดลง

การใช้ยาบางชนิด อาทิ ยาขับปัสสาวะ ยาคุมกำเนิด และอื่น ๆ

นอกจากนี้ ยังก่อให้เกิดภาวะ ไขมันในเลือด และมีอาการอื่น ๆ เช่น ความดันโลหิตสูงขึ้น มีอาการเวียนศีรษะ หน้ามืด รู้สึกเหมือนจะวูบเวลาลุก-นั่งเร็ว ๆ หรือเริ่มปวดศีรษะอยู่เป็นประจำ รวมไปถึงอาการใจสั่น หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ

วิธีการป้องกัน และการดูแลตัวเอง เมื่อเสี่ยงเป็นภาวะไขมันในเลือดสูง

การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้ชีวิต และพฤติกรรมการกินอาหารที่เหมาะสม จะช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลได้ และหากปฏิบัติตามข้อแนะนำดังกล่าว จะช่วยลดโอกาสในการเป็นโรคไขมันในเลือดสูงได้ เช่น

การควบคุมอาหาร

การรับประทานอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ ถือเป็นเรื่องสำคัญในการป้องกัน และการรักษาภาวะไขมันในเลือดสูง โดยควรหลีกเลี่ยงอาหารจำพวกเนื้อสัตว์ติดมัน เครื่องในสัตว์ ไข่แดง อาหารทะเล ผลิตภัณฑ์จากนม ของหวานที่มีส่วนประกอบของน้ำตาล กะทิ ของทอด รวมไปถึงควรหลีกเลี่ยงน้ำมันประเภทที่มีกรดไขมันสูง อย่าง น้ำมันมะพร้าว และไขมันที่ได้จากสัตว์

การออกกำลังกาย

ผู้ที่มีภาวะไขมันในเลือดสูงควรหันมาออกกำลังกาย โดยอาจเริ่มจากการเดิน การขยับตัวบ่อย ๆ ไม่จำเป็นว่าจะต้องออกกำลังกายหนัก ๆ แต่ให้ออกกำลังกายวันละนิดอย่างสม่ำเสมอ จะช่วยให้ร่างกายแข็งแรง ช่วยลดระดับไขมันเลว (LDL), คอเลสเตอรอล, และช่วยเพิ่มระดับไขมันดี (HDL)

การใช้ยาเพื่อลดระดับไขมัน

หากในกรณีที่การควบคุมอาหาร และการออกกำลังกาย ไม่สามารถลดระดับไขมันในเลือดได้ จำเป็นจะต้องใช้ยาลดระดับไขมันในเลือดร่วมด้วย แต่ทั้งนี้ควรปรึกษา และรับประทานตามที่แพทย์สั่ง

ทาน Coffogenic Drink ช่วยควบคุมระดับไขมัน

Hillkoff

Coffogenic Drink เป็นเครื่องดื่มสกัดจากเนื้อผลกาแฟเชอร์รี่ ที่มีสาร Chlorogenic Acid ช่วยควบคุมการทำงานของเอนไซม์ที่ย่อยไขมัน ทำให้ระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือดลดลง ช่วยลดความเสี่ยงของการสะสมไขมันในร่างกาย และไขมันในตับได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ ยังช่วยควบคุมภาวะดื้ออินซูลิน ช่วยขยายขนาดของไมเซลคอเลสเตอรอล ทำให้ร่างกายดูดซึมได้น้อยลง ช่วยควบคุมระดับน้ำตาล และไขมันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

อย่างไรก็ตาม นี่เป็นเพียงคำแนะนำเบื้องต้น โดยคุณควรให้ไปพบแพทย์เพื่อเข้ารับการรักษาที่ถูกต้อง และเหมาะสมจึงจะดีที่สุด และหากสนใจผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม Coffogenic Drink จาก Hillkoff สามารถปรึกษา หรือสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ Line: @coffogenic