10--r — различия между версиями

Материал из ТОГБУ Компьютерный Центр
Перейти к: навигация, поиск
м (10--r)
м (10--r)
Строка 1: Строка 1:
ลดรอยดำจากสิวด้วยเลเซอร์: เทคโนโลยีสวยคลาสสิกสำหรับผิวขาวใส<br /><br />สิวเป็นปัญหาผิวหน้าที่เป็นที่รักษายากและสามารถทำให้รูปหน้าดูไม่สม่ำเสมอได้ หลังจากที่สิวหายไปแล้ว รอยดำก็เป็นอีกปัญหาหนึ่งที่ผู้คนต้องเผชิญกันบ่อยครั้ง เนื่องจากการอัดสิวที่ไม่ถูกวิธีหรือการดูแลผิวที่ไม่เหมาะสมอาจทำให้เซลล์ผิวที่เสื่อมสภาพไม่สามารถหายแก่รอยดำได้ แต่ว่ากับเทคโนโลยีเลเซอร์รอยดำที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในการรักษารอยดำจากสิวนั้น มีโอกาสที่ผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับรอยดำจากสิวจะได้กลับมามีผิวที่ขาวใสอีกครั้ง<br /><br />เลเซอร์รักษารอยดำที่เกิดจากสิว<br /><br /><br /><br /><br /><br />เลเซอร์รอยดำจากสิวเป็นกระบวนการทางการแพทย์ที่ใช้เทคโนโลยีเลเซอร์ในการกระตุ้นการผลัดเซลล์ผิวที่เสื่อมสภาพและช่วยให้รอยดำลดลงอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น วิธีการนี้มีการทำลายเซลล์ผิวที่มีสีเข้มเป็นพิเศษ ซึ่งทำให้รอยดำเริ่มหายไปเมื่อผิวกลับมาผลัดเปลี่ยน การรักษาด้วยเลเซอร์มักจะใช้เวลาไม่นานและไม่ต้องใช้เวลาฟื้นตัวนานมาก เหตุการณ์ความเจ็บปวดในขณะรักษาก็น้อยกว่าการทำคอลลาเจนหรือกระทำอื่น ๆ ที่มีได้ในการรักษารอยดำอื่น ๆ<br /><br />เทคโนโลยีเลเซอร์สำหรับรอยดำ<br /><br />1. เลเซอร์คอเลสคิล: เป็นเทคโนโลยีที่ใช้เลเซอร์ที่สามารถกระทำกับเซลล์ผิวในระดับที่เล็กมากได้ โดยทำลายส่วนที่มีสีเข้มอยู่ในรอยดำ และเมื่อผิวกลับมาผลัดเปลี่ยนจะมีการดูดซึมสีเข้มจากการทำลายทำให้รอยดำเริ่มลดลง<br /><br />2. เลเซอร์ไบรท์: เป็นเทคโนโลยีที่ใช้เลเซอร์เพื่อย่อขนาดของหลอดครีมหรือส่วนที่มีสีเข้มในรอยดำ ทำให้รอยดำเริ่มเล็กลงและสวยคลาสสิกขึ้น<br /><br />3. เลเซอร์เฟรกเชี่ยล: เป็นเทคโนโลยีที่ใช้เลเซอร์เพื่อกระตุ้นการผลัดเซลล์ผิวและการสร้างคอลลาเจน เพื่อช่วยให้ผิวหน้าดูสม่ำเสมอและรอยดำลดลง<br /><br />คำแนะนำก่อนใช้เทคโนโลยีเลเซอร์<br /><br />1. ปรึกษาแพทย์ผิวหน้า: ควรปรึกษาแพทย์ผิวหน้าก่อนที่จะตัดสินใจใช้เทคโนโลยีเลเซอร์ เพื่อให้แพทย์ประเมินสภาพผิวและแนะนำวิธีการที่เหมาะสมสำหรับคุณ<br /><br />2. หลีกเลี่ยงแสงแดด: หลีกเลี่ยงการโดนแสงแดดจัดหลังการรักษาเพื่อป้องกันการผิดพลาดในการหายของรอยดำ<br /><br />3. ดูแลผิวหลังรักษา: การดูแลผิวหลังจากการรักษาเป็นสิ่งสำคัญ เช่น การใช้ครีมกันแดด เพื่อป้องกันการเสื่อมสภาพของผิวที่แผ่ออกไป<br /><br />เทคโนโลยีเลเซอร์รอยดำจากสิวเป็นทางเลือกที่ดีในการที่ผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับรอยดำจากสิวสามารถใช้ในการฟื้นฟูผิวหน้าให้ขาวใสได้อีกครั้ง อย่างไรก็ตามควรปรึกษาแพทย์ผิวหน้าก่อนที่จะทำการรักษาและดูแลผิวหลังจากการรักษาอย่างเคร่งครัด เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีและปลอดภัยที่สุดในการรักษารอยดำจากสิวด้วยเทคโนโลยีเลเซอร์ และกลับมามีผิวที่ขาวใสอีกครั้ง<br /><br />การดูแลผิวหลังการรักษา<br /><br />หลังจากการรักษาด้วยเทคโนโลยีเลเซอร์เพื่อลดรอยดำจากสิว เราควรให้ความสำคัญกับการดูแลผิวหน้าเพื่อให้ผิวสามารถฟื้นคืนตัวได้อย่างดีที่สุด นี่คือบางขั้นตอนที่ควรพิจารณา:<br /><br />1. การใช้ครีมกันแดด: หลังจากการรักษาด้วยเลเซอร์รอยดำ ผิวจะมีความบางและบางครั้งอาจเป็นอ่อนโยนกว่าเดิม การใช้ครีมกันแดดช่วยป้องกันการเสื่อมสภาพของผิวจากแสงแดดและช่วยให้รอยดำลดลงอย่างเร็วขึ้น<br /><br />2. การรักษาผิวในบ้าน: ใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบที่ช่วยในการกระตุ้นการผลัดเซลล์ผิว เช่น ครีมที่มีวิตามิน C หรือกรดอะซีด เพื่อช่วยในกระบวนการฟื้นฟูผิว<br /><br />3. ดู [http://atierwellness.com เลเซอร์หลุมสิว] : ทำความสะอาดผิวหน้าอย่างสะอาดเพื่อป้องกันการอุดตันของแผ่นเหงือก ที่อาจทำให้สิวกลับมาซ้ำอีกครั้ง<br /><br />4. รับประทานอาหารที่เหมาะสม: การรับประทานอาหารที่มีสารอาหารที่ดีต่อผิว เช่น ผักผลไม้ เติมเต็มวิตามินและแร่ธาตุที่ช่วยในกระบวนการฟื้นฟูผิว<br /><br />5. การสูบบุหรี่และการดื่มแอลกอฮอล์: ควรหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และการดื่มแอลกอฮอล์ เนื่องจากสองสิ่งนี้สามารถทำให้ผิวแห้งและเสื่อมสภาพได้<br /><br />
+
[https://medium.com/ โรคความดัน คือ] <br /><br />โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคใกล้ตัวที่ส่งผลกระทบให้เกิดโรคอื่น ๆ ตามมาได้ แต่การเลือกรับประทานอาหารที่ดี ก็มีส่วนที่ช่วยให้ระดับความดันโลหิตลดลงได้เช่นกัน รวมถึงหลีกเลี่ยงอาหารบางชนิด เพื่อไม่ให้ระดับความดันสูงขึ้น ในบทความนี้ Hillkoff จะมาแนะนำอาหารที่ควรหลีกเลี่ยง เพื่อให้สุขภาพดีในระยะยืนยาว และห่างไกลจากโรคความดันสูง<br /><br />สาระน่ารู้ โรคความดันสูง เกิดจากอะไร<br /><br />โรคความดันโลหิตสูง เป็นภาวะที่พบได้บ่อย ในบางรายอาจมีภาวะความดันสูงมาแล้วหลายปีแต่ไม่แสดงอาการ ซึ่งกว่าจะรู้ตัวว่าเข้าข่ายเป็นโรคความดันสูง ร่างกายก็ได้รับความเสียหายต่อหลอดเลือด และหัวใจไปแล้ว แต่ในบางรายที่อยู่ในภาวะความดันโลหิตขั้นรุนแรง อาจมีอาการปวดศีรษะ หายใจถี่ หรือมีเลือดกำเดาไหล <br /><br />ซึ่งการที่จะรู้ได้ว่าคุณมีภาวะความดันโลหิตสูงหรือไม่ สามารถตรวจได้ด้วยวิธีการวัดความดัน โดยค่ามาตรฐานของสำหรับสาเหตุที่ทำให้ความดันโลหิตสูงแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ<br /><br />ระดับที่ 1 ตัวบนเกิน 140 มม.ปรอท หรือตัวล่างเกิน 90 มม.ปรอท<br /><br />ระดับที่ 2 ตัวบนเกิน 160 มม.ปรอท หรือตัวล่างเกิน 100 มม.ปรอท<br /><br />ระดับที่ 3 ตัวบนเกิน 180 มม.ปรอท หรือตัวล่างเกิน 110 มม.ปรอท<br /><br />อย่างไรก็ตาม การวัดค่าความดันโลหิตเพียงครั้งเดียว ยังไม่สามารถสรุปได้ว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำเป็นต้องวัดซ้ำ 2-3 ครั้ง เพราะการวัดความดันในแต่ละครั้ง มักมีปัจจัยหลายอย่างมาทำให้ความดันสูงขึ้นได้ เช่น ความเหนื่อย ความเครียด และความกังวล <br /><br />รวม 10 อาหาร ที่ผู้ป่วยโรคความดันสูงควรเลี่ยง เพื่อสุขภาพที่ดี<br /><br />การรักษาโรคความดันสูง ทำได้ด้วยการกินยาอย่างต่อเนื่องตามที่แพทย์แนะนำ แต่อีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้ความดันโลหิตลดลงเป็นปกติได้ คือ การเลือกรับประทานอาหาร หากศึกษาข้อมูลให้ละเอียดว่าอาหารประเภทใดบ้างที่ควรหลีกเลี่ยง จะช่วยรักษาอาการความดันสูงได้ตรงจุด ซึ่งอาหารที่ผู้ป่วยโรคความดันสูงไม่ควรรับประทาน มีดังนี้<br /><br />เครื่องปรุงรสทุกชนิด<br /><br />เครื่องปรุงรสที่ใช้ปรุงอาหารในทุกวันนี้ ไม่ว่าจะเป็น เกลือ น้ำปลา ซีอิ๊ว ซอสเต้าเจี้ยว กะปิ และผงชูรส มักมีปริมาณโซเดียมที่สูงเกินกว่าปริมาณที่ควรได้รับต่อวัน และเพื่อลดระดับความดันให้เห็นผลควรหลีกเลี่ยงการเติมเครื่องปรุงลงในอาหารที่รับประทานแต่ละมื้อ <br /><br />เนื้อสัตว์แปรรูป<br /><br />เนื้อสัตว์แปรรูปจำพวกไส้กรอก หมูยอ กุนเชียง รวมถึงเนื้อสัตว์รมควัน ถือเป็นอาหารต้องห้ามสำหรับผู้ป่วยโรคความดันสูง เนื่องจากกระบวนการผลิตต้องมีการปรุงแต่งรสชาติ หรือใส่เกลือจำนวนมาก เพื่อช่วยยืดอายุผลิตภัณฑ์ให้เก็บได้นาน ทำให้มีปริมาณโซเดียมสูงตามไปด้วย<br /><br />อาหารดอง<br /><br />อาหารดอง เป็นอาหารที่ใช้เกลือเป็นส่วนผสมในปริมาณมาก เนื่องจากเกลือจะช่วยให้อาหารอยู่ได้นานขึ้น แต่เมื่อร่างกายได้รับเกลือ จะเกิดการดูดน้ำกลับเข้าสู่กระแสเลือดมากขึ้น หากร่างกายได้รับในปริมาณที่มากจนเกินไป จะทำให้ค่าความดันโลหิตพุ่งสูงขึ้น<br /><br />อาหารแช่แข็ง<br /><br />อาหารแช่แข็ง มักมีส่วนผสมของเกลือ และโซเดียมสูงมาก ทั้งยังมีกระบวนการใส่สารกันบูด เพื่อช่วยยืดอายุให้ผลิตภัณฑ์เก็บได้นาน ทำให้อาหารแช่แข็งมีปริมาณโซเดียมสูง และสามารถเพิ่มความดันโลหิตได้ นอกจากนี้ การรับประทานอาหารแช่แข็งมากเกินไป ยังเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือด<br /><br />น้ำอัดลม<br /><br />การดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มชาเขียว และชาเป็นประจำ จะส่งผลเสียต่อร่างกายอย่างมาก เนื่องจากได้รับน้ำตาลเกินปริมาณที่กำหนด จนกลายเป็นโรคอ้วน ซึ่งเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง <br /><br />ขนมกรุบกรอบ<br /><br />ผู้ป่วยโรคความดันสูง ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานขนมกรุบกรอบทุกชนิด เนื่องจากขนมกรุบกรอบมีปริมาณโซเดียมสูง หากรับประทานในปริมาณมาก จะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง และอาจเกิดโรคแทรกซ้อนตามมาได้ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคไต อัมพฤกษ์ และอัมพาต <br /><br />ขนมหวาน<br /><br />ขนมหวานเต็มไปด้วยส่วนประกอบของน้ำตาล น้ำเชื่อม และน้ำตาลฟรุกโตส ถือเป็นสาเหตุสำคัญของโรคอ้วน หากรับประทานมาก ๆ จะทำให้น้ำหนักเพิ่มขึ้น ซึ่งนำไปสู่โรคเบาหวาน โรคไต และโรคความดันโลหิตสูงในที่สุด ดังนั้น ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานขนมหวาน เพื่อลดความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพที่จะตามมาในอนาคต<br /><br />เครื่องดื่มแอลกอฮอล์<br /><br />การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีปริมาณน้ำตาลอยู่มาก ดังนั้น การดื่มในปริมาณที่มากจนเกินไป ทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้นได้ ที่สำคัญการดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ ส่งผลให้เกิดปัญหาความดันโลหิตสูงในระยะยาว <br /><br />ขนมปัง<br /><br />ขนมปัง เป็นอาหารที่มีโซเดียมสูง เนื่องจากมีเบกกิ้งโซดาเป็นส่วนผสมหลักที่ช่วยให้ขนมปังฟูขึ้น ดังนั้น ควรรับประทานขนมปังในปริมาณที่พอเหมาะต่อวัน รวมถึงหลีกเลี่ยงการรับประทานคู่กับเนยเค็ม ชีส แฮม และไส้กรอก<br /><br />บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป<br /><br />การรับประทานบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปเป็นประจำ ส่งผลเสียต่อร่างกายอย่างมาก เนื่องจากร่างกายไม่สามารถกำจัดเกลือ และน้ำส่วนเกินในร่างกาย ทำให้เกิดการคั่งของเกลือ และน้ำในอวัยวะต่าง ๆ จนเกิดการสะสมในร่างกาย และเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง<br /><br />นอกจากหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่เสี่ยงต่อผู้ป่วยโรคความดันสูงแล้ว การปรับเปลี่ยนไลฟ์สไตล์ หมั่นออกกำลังกายอย่างเป็นประจำ ก็จะช่วยให้ระดับความดันปกติ ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อน และยังไม่เสี่ยงให้อาการรุนแรงขึ้น<br /><br />ซึ่งวันนี้เรามีตัวช่วยดี ๆ ในการเลือกอาหารที่เหมาะสมในการควบคุมความดันโลหิต อย่างผลิตภัณฑ์ Coffogenic Drink สารสกัดจากเนื้อผลกาแฟเชอร์รี่เข้มข้น เพื่อลดความเสี่ยง หรือควบคุมอาการความดันสูง และไม่ก่อให้เกิดอาการรุนแรงมากขึ้น หากสนใจหรือต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อได้ที่ Line: @coffogenic <br /><br />หมายเหตุ : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่อยู่ในภาวะควบคุมได้ สามารถดื่ม Coffogenic Drink ได้ เนื่องจาก Coffogenic ของ Hillkoff มีคาเฟอีนในปริมาณที่น้อยกว่าปกติ สำหรับผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยงสูง ควรปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญก่อนเลือกรับประทาน

Версия 12:26, 26 апреля 2024

โรคความดัน คือ

โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคใกล้ตัวที่ส่งผลกระทบให้เกิดโรคอื่น ๆ ตามมาได้ แต่การเลือกรับประทานอาหารที่ดี ก็มีส่วนที่ช่วยให้ระดับความดันโลหิตลดลงได้เช่นกัน รวมถึงหลีกเลี่ยงอาหารบางชนิด เพื่อไม่ให้ระดับความดันสูงขึ้น ในบทความนี้ Hillkoff จะมาแนะนำอาหารที่ควรหลีกเลี่ยง เพื่อให้สุขภาพดีในระยะยืนยาว และห่างไกลจากโรคความดันสูง

สาระน่ารู้ โรคความดันสูง เกิดจากอะไร

โรคความดันโลหิตสูง เป็นภาวะที่พบได้บ่อย ในบางรายอาจมีภาวะความดันสูงมาแล้วหลายปีแต่ไม่แสดงอาการ ซึ่งกว่าจะรู้ตัวว่าเข้าข่ายเป็นโรคความดันสูง ร่างกายก็ได้รับความเสียหายต่อหลอดเลือด และหัวใจไปแล้ว แต่ในบางรายที่อยู่ในภาวะความดันโลหิตขั้นรุนแรง อาจมีอาการปวดศีรษะ หายใจถี่ หรือมีเลือดกำเดาไหล

ซึ่งการที่จะรู้ได้ว่าคุณมีภาวะความดันโลหิตสูงหรือไม่ สามารถตรวจได้ด้วยวิธีการวัดความดัน โดยค่ามาตรฐานของสำหรับสาเหตุที่ทำให้ความดันโลหิตสูงแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ

ระดับที่ 1 ตัวบนเกิน 140 มม.ปรอท หรือตัวล่างเกิน 90 มม.ปรอท

ระดับที่ 2 ตัวบนเกิน 160 มม.ปรอท หรือตัวล่างเกิน 100 มม.ปรอท

ระดับที่ 3 ตัวบนเกิน 180 มม.ปรอท หรือตัวล่างเกิน 110 มม.ปรอท

อย่างไรก็ตาม การวัดค่าความดันโลหิตเพียงครั้งเดียว ยังไม่สามารถสรุปได้ว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำเป็นต้องวัดซ้ำ 2-3 ครั้ง เพราะการวัดความดันในแต่ละครั้ง มักมีปัจจัยหลายอย่างมาทำให้ความดันสูงขึ้นได้ เช่น ความเหนื่อย ความเครียด และความกังวล

รวม 10 อาหาร ที่ผู้ป่วยโรคความดันสูงควรเลี่ยง เพื่อสุขภาพที่ดี

การรักษาโรคความดันสูง ทำได้ด้วยการกินยาอย่างต่อเนื่องตามที่แพทย์แนะนำ แต่อีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้ความดันโลหิตลดลงเป็นปกติได้ คือ การเลือกรับประทานอาหาร หากศึกษาข้อมูลให้ละเอียดว่าอาหารประเภทใดบ้างที่ควรหลีกเลี่ยง จะช่วยรักษาอาการความดันสูงได้ตรงจุด ซึ่งอาหารที่ผู้ป่วยโรคความดันสูงไม่ควรรับประทาน มีดังนี้

เครื่องปรุงรสทุกชนิด

เครื่องปรุงรสที่ใช้ปรุงอาหารในทุกวันนี้ ไม่ว่าจะเป็น เกลือ น้ำปลา ซีอิ๊ว ซอสเต้าเจี้ยว กะปิ และผงชูรส มักมีปริมาณโซเดียมที่สูงเกินกว่าปริมาณที่ควรได้รับต่อวัน และเพื่อลดระดับความดันให้เห็นผลควรหลีกเลี่ยงการเติมเครื่องปรุงลงในอาหารที่รับประทานแต่ละมื้อ

เนื้อสัตว์แปรรูป

เนื้อสัตว์แปรรูปจำพวกไส้กรอก หมูยอ กุนเชียง รวมถึงเนื้อสัตว์รมควัน ถือเป็นอาหารต้องห้ามสำหรับผู้ป่วยโรคความดันสูง เนื่องจากกระบวนการผลิตต้องมีการปรุงแต่งรสชาติ หรือใส่เกลือจำนวนมาก เพื่อช่วยยืดอายุผลิตภัณฑ์ให้เก็บได้นาน ทำให้มีปริมาณโซเดียมสูงตามไปด้วย

อาหารดอง

อาหารดอง เป็นอาหารที่ใช้เกลือเป็นส่วนผสมในปริมาณมาก เนื่องจากเกลือจะช่วยให้อาหารอยู่ได้นานขึ้น แต่เมื่อร่างกายได้รับเกลือ จะเกิดการดูดน้ำกลับเข้าสู่กระแสเลือดมากขึ้น หากร่างกายได้รับในปริมาณที่มากจนเกินไป จะทำให้ค่าความดันโลหิตพุ่งสูงขึ้น

อาหารแช่แข็ง

อาหารแช่แข็ง มักมีส่วนผสมของเกลือ และโซเดียมสูงมาก ทั้งยังมีกระบวนการใส่สารกันบูด เพื่อช่วยยืดอายุให้ผลิตภัณฑ์เก็บได้นาน ทำให้อาหารแช่แข็งมีปริมาณโซเดียมสูง และสามารถเพิ่มความดันโลหิตได้ นอกจากนี้ การรับประทานอาหารแช่แข็งมากเกินไป ยังเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือด

น้ำอัดลม

การดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มชาเขียว และชาเป็นประจำ จะส่งผลเสียต่อร่างกายอย่างมาก เนื่องจากได้รับน้ำตาลเกินปริมาณที่กำหนด จนกลายเป็นโรคอ้วน ซึ่งเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง

ขนมกรุบกรอบ

ผู้ป่วยโรคความดันสูง ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานขนมกรุบกรอบทุกชนิด เนื่องจากขนมกรุบกรอบมีปริมาณโซเดียมสูง หากรับประทานในปริมาณมาก จะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง และอาจเกิดโรคแทรกซ้อนตามมาได้ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคไต อัมพฤกษ์ และอัมพาต

ขนมหวาน

ขนมหวานเต็มไปด้วยส่วนประกอบของน้ำตาล น้ำเชื่อม และน้ำตาลฟรุกโตส ถือเป็นสาเหตุสำคัญของโรคอ้วน หากรับประทานมาก ๆ จะทำให้น้ำหนักเพิ่มขึ้น ซึ่งนำไปสู่โรคเบาหวาน โรคไต และโรคความดันโลหิตสูงในที่สุด ดังนั้น ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานขนมหวาน เพื่อลดความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพที่จะตามมาในอนาคต

เครื่องดื่มแอลกอฮอล์

การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีปริมาณน้ำตาลอยู่มาก ดังนั้น การดื่มในปริมาณที่มากจนเกินไป ทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้นได้ ที่สำคัญการดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ ส่งผลให้เกิดปัญหาความดันโลหิตสูงในระยะยาว

ขนมปัง

ขนมปัง เป็นอาหารที่มีโซเดียมสูง เนื่องจากมีเบกกิ้งโซดาเป็นส่วนผสมหลักที่ช่วยให้ขนมปังฟูขึ้น ดังนั้น ควรรับประทานขนมปังในปริมาณที่พอเหมาะต่อวัน รวมถึงหลีกเลี่ยงการรับประทานคู่กับเนยเค็ม ชีส แฮม และไส้กรอก

บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป

การรับประทานบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปเป็นประจำ ส่งผลเสียต่อร่างกายอย่างมาก เนื่องจากร่างกายไม่สามารถกำจัดเกลือ และน้ำส่วนเกินในร่างกาย ทำให้เกิดการคั่งของเกลือ และน้ำในอวัยวะต่าง ๆ จนเกิดการสะสมในร่างกาย และเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง

นอกจากหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่เสี่ยงต่อผู้ป่วยโรคความดันสูงแล้ว การปรับเปลี่ยนไลฟ์สไตล์ หมั่นออกกำลังกายอย่างเป็นประจำ ก็จะช่วยให้ระดับความดันปกติ ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อน และยังไม่เสี่ยงให้อาการรุนแรงขึ้น

ซึ่งวันนี้เรามีตัวช่วยดี ๆ ในการเลือกอาหารที่เหมาะสมในการควบคุมความดันโลหิต อย่างผลิตภัณฑ์ Coffogenic Drink สารสกัดจากเนื้อผลกาแฟเชอร์รี่เข้มข้น เพื่อลดความเสี่ยง หรือควบคุมอาการความดันสูง และไม่ก่อให้เกิดอาการรุนแรงมากขึ้น หากสนใจหรือต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อได้ที่ Line: @coffogenic

หมายเหตุ : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่อยู่ในภาวะควบคุมได้ สามารถดื่ม Coffogenic Drink ได้ เนื่องจาก Coffogenic ของ Hillkoff มีคาเฟอีนในปริมาณที่น้อยกว่าปกติ สำหรับผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยงสูง ควรปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญก่อนเลือกรับประทาน